อุปจารสมาธิ คืออะไร สมาธิที่แน่วแน่ของจิต

อุปจารสมาธิ คืออะไร สมาธิที่แน่วแน่ของจิต

อุปจารสมาธิ หลายท่านยังสงสัยว่าคือสมาธิที่มีลักษณะอย่างไร และเป็นสมาธิขั้นใด มีการปฏิบัติและฝึกอย่างไร ในการนั่งสมาธิ ซึ่งโดยปกติแล้วหลายท่านมักจะได้จะได้ยินคำว่า อาณาปณสติ หรือคำอื่น ๆ เช่น ขณิกสมาธิ ซึ่งทำให้การปฏิบัติเกิดความลังเลสงสัยยิ่งทำให้เกิดวิจิกิจฉาที่มาจากนิวรณ์ จะทำให้เกิดเบื่อและเบิกการนั่งสมาธิไป

เรายกเลิกความกังวลและสงสัยทั้งหมดก่อน  แล้วมาเร่ิมจากว่าเราทำสมาธิทำไมเพื่ออะไร

ความหมายของสมาธิ

แปลตามบาลีแปลว่า ความตั้งใจมั่น

สมาธิในความหมายของพจนานุกรม แปลว่า ที่ตั้งมั่นแห่งจิต

การทำสมาธิในทางพุทธศาสนา เรียกว่าสมถะ

สมาธิกับสมถะนั้นเกี่ยวข้องอย่างไรแล้วทำไมแล้วครูบาอาจารย์บางท่านมักสอนให้ทำสมถะก่อนหรือทำสมาธิให้นิ่งเสียก่อน  เพราะว่าจิตแต่ละคนไม่เหมือนกัน ความสงบต้องมีเสียก่อนถึงจะพิจารณาให้เป็นธรรมเพื่อความพ้นทุกข์ได้อย่างแจ่มแจ้งได้ชัดเจน ง

ทำสมถะก่อน เพราะ คนเราที่หัดนั่งมาธิใหม่ นั่น  จะรู้สึกเหมือนลิงกระโดดไปกิ่งไม้ไปมา และเผลอไปคิดโน่นคิดนี่ ทำให้เวลานั่งสมาธิแล้วรู้สึกเบื่อหน่ายแล้วรู้สึกว่าทำไปไม่เกิดอะไร  ดังนั้นจึงต้องนำ “อาณาปาณสติการฝึกดูลมหายใจเข้ามาเป็นกุศโลบายแห่งจิต(1ใน 40 กองกรรมฐาน)” แล้วควบไปกับ พุธธานุสาติ คือ เมื่อลมหายใจเข้า ก็ตั้งจิตว่ารู้ลมหายใจเข้า แล้วกำหนดว่าพุธ แล้วปล่อยลมหายใจออกรู้ว่าลมหายใจออก ภาวนาจิตต้ังให้รู้ว่าโธ ดังนี้ไปเรื่อย ๆ

ที่สำคัญคือ ไม่ต้องบังคับว่าจะต้องลมต้องเข้าหายใจเร็วหรือแรง แล้วปล่อยลมหายใจให้เร็วหรือสั้น  เอาง่าย ๆ เคล็ดลับคือ หายใจเข้าได้แบบไหนก็ดูให้รู้ว่าได้เท่านี้แล้วก็ปล่อยออกตามธรรมชาติ วันนี้อาจจะปล่อยออกมาเร็วหรือช้าต่างกัน แต่พอทำไปเรื่อย ๆ นั้นจะปล่อยได้เองตามธรรมชาติจนเราลืมไปว่าเราไม่ได้บังคับมัน มันจะหายใจเข้าและหายใจออกเองแบบธรรมชาติของสมาธิ

“เมื่อทำได้แบบไม่บังคับ วันนี้ลมจะสั้น ก็ช่างมัน ฉันแค่รู้ว่าลมมันเคลื่อนเข้าไปจาก ปลายจมูก ผ่านหน้าอก ลงสู่ท้อง แล้วลมก็ออกมาเอง จากผ่านหน้าท้อง ผ่านหน้าอก ออกมาที่ปลายจมูก  แล้วจะพบว่าไม่อึดอัดแล้ว ทำให้มีความสุขกับการนั่งได้มากขึ้น จิตเร่ิมไม่สนใจรอบข้าง จากนั่ง 5 นาทีแล้วรู้สึกว่าเคยนานจะรู้สึกว่าเหมือนแค่หลับตาแป้ปเดียวผ่านไปเร็ว  ก็จะขยับไป20นาทีเอง จากนั้นก็จะไประดับชั่วโมงได้เอง

แต่ขอย้ำว่า ไม่ต้องสนใจว่าจะนั่งนาน หรือ สั้น เวลาจะผ่านไปแค่ไหน ให้รู้เพียงว่า จิตลงรวมในสมาธิ แล้วจะรู้สึกเหมือนกล่องเปล่า ๆ สงบ นี่คือ สมถะ

ถ้าเรามีสมถะ คือความที่จิตลงรวมอย่างสงบ  มักจะเรียกสิ่งนี้ว่า ขณิกสมาธิ คือ จิตเร่ิมลงรวมสงบนิ่ง   จากนี้ก็จะปฏิบิตต่อไปเป็นขั้นต่อไปคืออุปจารสมาธิ

 

อุปจารสมาธิ คืออะไร

อาการที่จิตจวนจะรวมเข้าสู่อัปปนา ซึ่งจะรวมแหล่มิรวมแหล่ แต่ไม่ฟุ้งซ่านสอดส่ายออกไปภายนอก ยึดเอาอารมณ์เป็นอุปาทานเครื่องถือมั่น จะละก็ไม่ใช่ จะเอาก็ไม่เชิง มีความลังเลเป็นสมุฏฐานอาการที่จิตจวนจะรวมเข้าสู่อัปปนา ซึ่งจะรวมแหล่มิรวมแหล่ แต่ไม่ฟุ้งซ่านสอดส่ายออกไปภายนอก ยึดเอาอารมณ์เป็นอุปาทานเครื่องถือมั่น จะละก็ไม่ใช่ จะเอาก็ไม่เชิง มีความลังเลเป็นสมุฏฐาน

เครดิตจากเพจ https://mgronline.com/dhamma/detail/9580000074829

สรุปสมาธิมีกี่ระดับ

แบบเบื้องต้นเพราะตามตำราแล้วจะมีลึกลงไปทำให้เราสับสนได้ ดังนั้นไม่ต้องกังวลสนใจระดับขอให้ปฏิบัติเรื่อย ๆ

สมาธิแบ่งออกเป็น 3 ระดับ

1. ขฌิกสมาธิ คือ สมาธิชั่วขณะ ซึ่งบุคคลทั่วไปสามารถนำมาใช้การงานในชีวิตประจำวัน เช่นใช้อ่านหนังสือ หรือขับรถ

ขณิกสมาธิ เหมือนเด็กที่เพิ่งหัดเดิน

ขณิก(ชั่วขณะ) + สมาธิ(ความทรงไว้พร้อม ความตั้งมั่น)

สมาธิที่เป็นไปชั่วขณะ หมายถึง เอกัคคตาเจตสิกที่เกิดกับจิต ที่เป็นไปตามปกติของบุคคลทั่วไป เช่น ขณะที่เห็น ได้ยิน ได้กลิ่น ลิ้มรส รู้สัมผัส ขณะที่ยืน เดิน นั่ง นอนตามปกติ ก็มีขณิกสมาธิเกิดร่วมด้วย

 

2. อุปจารสมาธิสมาธิเฉียด ๆ หรือจวนจะแน่วแน่ อุปจารสมาธิ สมาธิที่แน่วแน่มากกว่าขณิกสมาธิ แต่แน่วแน่น้อยกว่า

อุปจารสมาธิเหมือนเด็กที่เดินได้คล่องและเร่ิมจะวิ่ง

ป็นสมาธิที่เริ่มเป็นหนึ่ง ข้อสังเกตง่ายๆ ของผู้ปฏิบัติสมาธิ คืออารมณ์กรรมฐานเริ่มเป็นหนึ่ง เสียงหรืออารมณ์ภายนอกไม่สมารถเข้ามารบกวน ให้อารมณ์กรรมฐานถอยออกมาง่าย

 

3. อัปปนาสมาธิ สมาธิที่แน่วแน่แนบสนิท เป็นการเจริญสมาธิในขั้นฌาน ถือเป็น ความสำเร็จสูงสุดของการเจริญสมาธิ อัปปนาสมาธิ อัปปนาสมาธิ สมาธิที่ไม่หวั่นไหว หมายถึงสมาธิระดับฌานสมาบัติ ปฐมฌาณขึ้นไป

อัปปะนาสมาธิของปฐมฌาน เปรียบดังเด็กที่วิ่งได้อย่างคล่องแคล่ว

หมายถึงหมดความรู้สึกไปชั่วขณะหรือเป็นขณะๆ หรือเป็นวัน ตามกำลังสมาธิและความชำนาญ

เครดิตจากเพจ https://dharayath.com

อานาปานสติ คืออะไร ฝึกนั่งสมาธิอย่างไร จิตเจริญปัญญา

อานาปานสติ คืออะไร ฝึกนั่งสมาธิอย่างไร จิตเจริญปัญญา

อานาปานสติ นับว่าเป็นกองกรรมฐานที่สำคัญที่พระพุทธเจ้าทรงยกย่อง และ พระฝ่ายกรรมฐาน หรือ สายพระป่า พระอาจารย์มั่น ก็ยกย่องส่งเสริมการฝึกเจริญสติสมาธิด้วย อานาปานสติ หรือ การดูลมหายใจ แต่มีหลักการและความสงสัยในการฝึกลม หายใจเข้าออกนั้น ทำให้ยังเกิดการติดขัดสงสัยต่อการฝึก

อานาปานสติ คืออะไร

อานาปานสติหมายถึงการมีความระลึกรู้ตัวในลมหายใจเข้าออก

อานาปานสติ อันภิกษุเจริญแล้ว ทำให้มากแล้ว
ย่อมมีผลมากมีอานิสงส์มาก
ภิกษุที่เจริญอานาปานสติแล้ว ทำให้มากแล้ว
ย่อมบำเพ็ญสติปัฏฐาน ๔ ให้บริบูรณ์ได้
ภิกษุที่เจริญสติปัฏฐาน ๔ แล้ว ทำให้มากแล้ว
ย่อมบำเพ็ญโพชฌงค์ ๗ ให้บริบูรณ์ได้
ภิกษุที่เจริญโพชฌงค์ ๗ แล้ว ทำให้มากแล้ว
ย่อมบำเพ็ญวิชชาและวิมุตติให้บริบูรณ์ได้

อานาปานสติสูตร พระไตรปิฏก เล่ม ๑๔

อานาปานสติเกี่ยวข้องกับการนั่งสมาธิอย่างไร

สมาธิ แปลตามบาลีแปลว่า ความตั้งใจมั่น หรือ สมาธิในความหมายของพจนานุกรม แปลว่า ที่ตั้งมั่นแห่งจิต

ซึ่งตามจุดมุ่งหมายของการนั่งสมาธินั้นคือ การทำให้จิตสงบหรือ ที่เรียกว่า สมถะกรรมฐาน คือทำให้จิตสงบเสียก่อน เมื่อจิตสงบแล้วจะทำให้การโน้มไปสู่การเกิดปัญญาได้ตามลำดับของการนั่งสมาธิ คือ ขณิกสมาธิ อุปจารสมาธิ และ สุดท้าย อัปณาสมาธิ ดังนั่งสมาธิที่เร่ิมต้นนั้นจะมีการนำสติเป็นเป็นเครื่องมือช่วยการละลึกให้รู้ตัว ในการนั่งสมาธิ  และ นำมาใช้คู่กับ สติ(คือความระลึกได้) + สัมปะชัญญะ (คือความรู้ตัว)

อานาปานสติฝึกอย่างไร

อานาปาสติคือการฝึกดูลมหายใจเข้า และ หายใจออก และ มักจะใข้คู่กับ พุทธานุสติ หรือ ที่เรียกว่า การกำหนดรรู้ พุทโธ ซึ่งมีวิธีการเบื้องต้นดังนี้

  • ฝึกให้รู้ลมเข้า  เป็นขั้นตอนที่สำคัญในการเร่ิมต้น โดยการเริ่มจาก ลมรู้ที่ปลายจมูก ผ่านเข้ามาที่หน้าอก และลงท้อง    มักจะควบคู่กับ พุทธานุสติ คือ กำหนดลมเมื่อถึงท้อง ก็จะกำหนด พุธ
  • ฝึกให้รู้ลมออก เป็นการปล่อยลมช้าตามสบายจากท้อง อก และ มาสิ้นที่ปลายจมูก แล้วกำหนด โธ
  • ฝึกจนเคยชิน และดูลมอย่างนี้ไปเรื่อย แล้วจิตจะมีความสงสัยว่า มีอะไรต่อเห็นอะไรต่อ ก็ปล่อย เพราะจิตกำลังจะเกิดความสงสัยที่มาจากนิวรณ์ ทำให้สมาธิไม่สงบ คิดโน่นคิดนี่
  • การกำหนดลม ไม่ต้องสนใจว่าจะเร็ว หรือ ช้า หายใจแบบไหนก็กำหนดรู้ไปเรื่อยๆ เพราะจะทำให้เราฟุ้งซ่าน แค่รู้ว่าลมเข้าและลมออก เดี๋ยวจิตจะพัฒนาการรู้ลม ไม่อึดอัด เดินลมสะดวก และมีผลการการนั่งอย่างสงบใจ
  • ฝึกบ่อย จนจิตชิน จะทำให้เกิด ขณิกสมาธิขฌิกสมาธิ คือ สมาธิชั่วขณะ ซึ่งบุคคลทั่วไปสามารถนำมาใช้การงานในชีวิตประจำวัน เช่นใช้อ่านหนังสือ หรือขับรถขณิกสมาธิ เหมือนเด็กที่เพิ่งหัดเดินขณิก(ชั่วขณะ) + สมาธิ(ความทรงไว้พร้อม ความตั้งมั่น)

ขอบคุณจากเพจ https://dharayath.com/

สมาธิ คืออะไร ฝึกนั่งมีวิธีใดบ้าง และ สมาธิมีกี่ประเภท

สมาธิ คืออะไร ฝึกนั่งมีวิธีใดบ้าง และ สมาธิมีกี่ประเภท

สมาธิ เป็นการรวบรวมสภาวะจิตใจให้แน่วแน่ และเป็นหนึ่งในวิธีฝึกจิตให้นำไปสู่ความสงบ ที่เรียกว่า สมถะ คือทำใจห้สงบก่อนแล้วจิตจะพัฒนาสู่การเห็นความเป็นจริงตามวิปัสนา
หลายท่านกำลังฝึกการนั่งสมาธิ และฝึกมาหลายที่ จนทำให้งง ว่าตกลงแล้วต้องเร่ิมตรงไหนทำอย่างไรก่อน  แล้วดูลมหายใจ พุทโธ จะเร่ิมอย่างไรกับสมาธิ บทความนี้มีมาฝากรับรอง ไม่หลงเพราะทำตาม ครูอาจารย์ที่ท่านได้ปฏิบัติดี
หลวงปู่ชา วัดหนองป่าพง ท่านได้ให้ไว้ คือ ทำจิตให้สงบเสียก่อน ที่เราเรียกว่า สมถะ ความสงบอยู่ที่เรา ไม่ได้อยู่ที่สถานที่ใดสถานที่หนึ่ง ควบไปกับ ลมหายใจ อานาปณสติ ไม่ต้องสนใจใด ๆ ให้รู้อย่างเดียว ไม่ต้องไปบังคับ ได้แค่ไหนก็แค่นั้น ทำไปเรื่อย ๆ จะพัฒนาขึ้นเอง
แล้วจะเห็นความอัศจรรย์จากจิตที่สงบ นัตถิ สันติ ปะรัง สุขขัง ไม่มีสุขใดเหนือกว่า ความสงบ
Update สมาธิ คือ อะไร

สมาธิ คืออะไร

สมาธิ (บาลี: Samādhi; สันสกฤต: समाधि) หมายถึงความสำรวมใจให้แน่วแน่เพื่อให้จิตใจสงบหรือเพื่อให้เกิดปัญญาเห็นแจ้ง[1]

การทำสมาธิมีปรากฏในหลายศาสนา เช่น ศาสนาพุทธ ศาสนาฮินดู และลัทธิเต๋า และยังคงรวมถึงสิ่งที่ไม่เกี่ยวกับศาสนา เช่น โยคะ

เครดิตเพจ https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%98%E0%B8%B4

การสำรวมภาวะของจิตใจ ให้แน่วแน่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เพื่อทำให้จิตใจมีความนิ่งเงียบสงบ และนำไปสู่การเกิดสติปัญญา มักจะเรียกควบคู่ว่า สติสัมปชัญญะ (สติคือ ความรำลึกได้ สัมปรัญญะคือความรู้ตัว) สมาธิต้องอาศัยจิตเข้ามารู้ตัวสมาธิ แปลตามบาลีแปลว่าอะไร
สมาธินั้น ตามบาลีนั้นแปลว่า ความตั้งใจมั่น การทำสมาธิในทางพุทธศาสนา เรียกว่าสมถะ
สมาธิ คืออะไร

สมาธิแบ่งออกเป็น 3 ระดับ

1. ขฌิกสมาธิ
คือ สมาธิชั่วขณะ ซึ่งบุคคลทั่วไปสามารถนำมาใช้การงานในชีวิตประจำวัน เช่นใช้อ่านหนังสือ หรือขับรถขณิกสมาธิ เหมือนเด็กที่เพิ่งหัดเดินขณิก(ชั่วขณะ) + สมาธิ(ความทรงไว้พร้อม ความตั้งมั่น)สมาธิที่เป็นไปชั่วขณะ หมายถึง เอกัคคตาเจตสิกที่เกิดกับจิต ที่เป็นไปตามปกติของบุคคลทั่วไป เช่น ขณะที่เห็น ได้ยิน ได้กลิ่น ลิ้มรส รู้สัมผัส ขณะที่ยืน เดิน นั่ง นอนตามปกติ ก็มีขณิกสมาธิเกิดร่วมด้วย
2. อุปจารสมาธิ
สมาธิเฉียด ๆ หรือจวนจะแน่วแน่ อุปจารสมาธิ สมาธิที่แน่วแน่มากกว่าขณิกสมาธิ แต่แน่วแน่น้อยกว่าอุปจารสมาธิ เหมือนเด็กที่เดินได้คล่องและเร่ิมจะวิ่งเป็นสมาธิที่เริ่มเป็นหนึ่ง ข้อสังเกตง่ายๆ ของผู้ปฏิบัติสมาธิ คืออารมณ์กรรมฐานเริ่มเป็นหนึ่ง เสียงหรืออารมณ์ภายนอกไม่สมารถเข้ามารบกวน ให้อารมณ์กรรมฐานถอยออกมาง่าย
3. อัปปนาสมาธิ
สมาธิที่แน่วแน่แนบสนิท เป็นการเจริญสมาธิในขั้นฌาน ถือเป็น ความสำเร็จสูงสุดของการเจริญสมาธิ อัปปนาสมาธิ อัปปนาสมาธิ สมาธิที่ไม่หวั่นไหว หมายถึงสมาธิระดับฌานสมาบัติ ปฐมฌาณขึ้นไปอัปปะนาสมาธิของปฐมฌาน เปรียบดังเด็กที่วิ่งได้อย่างคล่องแคล่วหมายถึงหมดความรู้สึกไปชั่วขณะหรือเป็นขณะๆ หรือเป็นวัน ตามกำลังสมาธิและความชำนาญ

ธรรมะ คือพุทธะ และ การทำ สมาธิ หรือ สมาธิ คืออะไร

สมาธิ นั้นต้องทำสมะ หรือ วิปัสสนา ก่อน ทำอะไรก่อนกันแน่

เป็นคำถามที่พบเจอบ่อยมากกับผู้ที่ฝึกสมาธิ  

เพราะ อาจารย์นั้นบอกอย่างนั้น อาจารย์นี้บอกอย่างนี้  คนนั้นบอกให้ทำสมถะก่อน บางคนบอกว่าทำ วิปัสนาเลย ทำให้เกิดความลังเล

ถ้าโดยพื้นฐานตามปกติ เบื้องต้นแล้ว ควรทำให้เกิดจิตที่เป็นสมถะ หรือ ให้จิตสงบนิ่ง ให้ได้ก่อน เพราะคนเรามีสติปัญญา และ วาสนา(บุญของเก่า) ไม่เท่ากัน

เพราะบางคนมีจิตที่สงบและเป็นสมาธิง่าย หรือ มีจิตที่เข้มเข้มมาตั้งแต่เดิม ลองนึก บางคนกกลัวงู แต่บางคนไม่กลัวงู บางคนจับจิ้งจกได้ แต่บางคนกลัวจิ้งจก จะเห็นได้ว่าพื้นฐานของแต่ละคนไม่เหมือนกัน ดังนั้น ถ้าจะให้เร่ิมขั้นต้นได้ง่ายไม่ต้องไปคิดอะไรมากว่าอ่านแล้วไม่เข้าใจ ก็ให้กำหนดรู้ว่า ไม่เข้าใจ และทำเดินสมาธิต่อไป นั่งดูให้จิตเป็นสมถะ พอจิตนั่งแล้ว การจะเข้าไปดูวิปัสนากรรมฐาน ก็จะเห็นชัดได้ง่าย ไม่สงสัยลังเลย

การฝึกสมาธิเบื้องต้นทำอย่างไร

การฝึกสามาธิที่นิยมคือ อานาปานสติ คือ กำหนดจิตให้ตั้งมั่นใน ลมหายใจ กำหนดรู้เข้า หายใจออก กำหนดให้รู้ลมหายใจออก เมื่อลมผ่านที่ปลายจมูกเข้ามาให้กำหนดรู้ ค่อยปล่อยผ่านลงท้อง ไม่ต้องไปบังคับมันว่าลมต้องผ่าน ได้เท่าไหนก็ปล่อยลงไปถึงตรงนั้น ถ้าให้ดีค่อย ๆปล่อยถึงท้อง โดยผ่านลงมาจากหน้าอกสู่ท้อง หรือบางครั้งหลายท่านมักเรียกว่า กำหนดลมมาที่สะดือ แล้วปล่อยลมออก มาที่ปลายจมูก รับรู้อย่างนี้เรื่อยไป ไม่ต้องเร่งรีบ ได้เท่าไหนทำเท่านั้น เดี๋ยวจิตจะพัฒนาความรู้สึกไปเรื่อย ไม่ต้องไปบังคับ ปล่อยตามสบายให้ เน้นว่า รู้เท่านั้น ว่าลมเข้ามาแล้ว และลมออกมาแล้วที่ปลายจมูก

นั่งสมาธิกำหนดกายนั่งอย่างไร

ตั้งกายให้ตรง สติให้ตั้งมั่น แล้วกำหนดรู้ลม เน้นยำ เอาแค่กำหนดรู้ลม ไม่ต้องไปบังคับ เพราะจิตมนุษย์มันจะชอบท่องเที่ยว พอหลับตาก็จะเหมือนลิงกระโดดไปตามต้นไม้ต่าง ๆ จึงแนะนำว่าให้กำหนดรู้ ถ้าจิตส่งออกไปข้างนอกคิดถึง คนโน้น คนนี้ ก็ปล่อยมัน แล้วพอรู้ตัว ก็มานั่งดูลมหายใจใหม่ ทำอย่างนี้เรื่อยไป สักระยะ จิตจะเร่ิมอยู่กับที่ที่ลมหายใจ จึงเร่ิมเข้าสู่ สมาธิที่เกิดตามระดับต่าง ๆ

เครดิต จากบทความ https://dharayath.com/

ขณิกสมาธิ  คืออะไร จุดเริ่มของการหลุดพ้น

ขณิกสมาธิ คืออะไร จุดเริ่มของการหลุดพ้น

ขณิกสมาธิ เป็นสมาธิเร่ิมต้นของผู้ที่มีจุดมุ่งหมายของศาสนา คือ ขนทุกข์ออกจากจิตใจของสัตว์โลกไม่มีอย่างอื่น มีเพียงเท่านี้ หมดทุกข์ จิตสงบ ว่าง ไม่มีหน้าที่ให้ทุกข์ ตั้งแต่ ทุกข์แบบหยาบจนถึงทุกข์ละเอียด ไม่ต้องพึ่งพาฤกษ์งามยามดี หรือเที่ยวขอพร ใด ๆแต่ไม่ลบหลู่ใด ๆให้ครามเคารพ อ่อนน้อมถ่อมตน เรียบง่าย และ ขอเพียงมีจิตสงบ ไปไหนก็มีความสุข สุขเสมอความสงบไม่มี  แล้วคำถามก็เข้ามาว่าเร่ิมจากตรงไหนก่อนดีล่ะ สำหรับผู้ที่มีความมุ่งมั่นจะเข้าสู่สมาธิภาวนา และมีความตั้งใจในการปฏิบัติสมาธิ  สมาธิคืออะไร แบ่งเป็นอะไรบ้าง ขั้นต้นเรียกว่าอะไร เร่ิมต้นอย่างไร

สมาธิแบ่งออกเป็น 3 ระดับ

1. ขฌิกสมาธิ
คือ สมาธิชั่วขณะ ซึ่งบุคคลทั่วไปสามารถนำมาใช้การงานในชีวิตประจำวัน เช่นใช้อ่านหนังสือ หรือขับรถขณิกสมาธิ เหมือนเด็กที่เพิ่งหัดเดินขณิก(ชั่วขณะ) + สมาธิ(ความทรงไว้พร้อม ความตั้งมั่น)สมาธิที่เป็นไปชั่วขณะ หมายถึง เอกัคคตาเจตสิกที่เกิดกับจิต ที่เป็นไปตามปกติของบุคคลทั่วไป เช่น ขณะที่เห็น ได้ยิน ได้กลิ่น ลิ้มรส รู้สัมผัส ขณะที่ยืน เดิน นั่ง นอนตามปกติ ก็มีขณิกสมาธิเกิดร่วมด้วย
2. อุปจารสมาธิ
สมาธิเฉียด ๆ หรือจวนจะแน่วแน่ อุปจารสมาธิ สมาธิที่แน่วแน่มากกว่าขณิกสมาธิ แต่แน่วแน่น้อยกว่าอุปจารสมาธิ เหมือนเด็กที่เดินได้คล่องและเร่ิมจะวิ่งเป็นสมาธิที่เริ่มเป็นหนึ่ง ข้อสังเกตง่ายๆ ของผู้ปฏิบัติสมาธิ คืออารมณ์กรรมฐานเริ่มเป็นหนึ่ง เสียงหรืออารมณ์ภายนอกไม่สมารถเข้ามารบกวน ให้อารมณ์กรรมฐานถอยออกมาง่าย
3. อัปปนาสมาธิ
สมาธิที่แน่วแน่แนบสนิท เป็นการเจริญสมาธิในขั้นฌาน ถือเป็น ความสำเร็จสูงสุดของการเจริญสมาธิ อัปปนาสมาธิ อัปปนาสมาธิ สมาธิที่ไม่หวั่นไหว หมายถึงสมาธิระดับฌานสมาบัติ ปฐมฌาณขึ้นไปอัปปะนาสมาธิของปฐมฌาน เปรียบดังเด็กที่วิ่งได้อย่างคล่องแคล่ว

มาเร่ิมกันครับ ง่าย ๆ แค่ นั่งสมาธิ  หรือ ทำอะไรก็ได้  ให้นึกถึงลมหายใจ อานาปานสติ ที่สุดยอดที่สุด (ลมหายใจ ไม่ว่าใครจะดีจะชั่ว ก็มีลมหายใจเป็นเพื่อนตลอด)

รู้บ้าง ไม่รู้บ้าง ก็ปล่อย ” อย่าไปคิดว่า ต้องรู้ให้นานติดกัน  วางทุกตำรา ทุกเซียนบอก  เอาแค่ โน้มความตั้งใจ ดูลมหายใจ  ถ้ากลัวหลุด ก็เพิ่มพุธและโธ เข้าไปช่วย เพื่อเพิ่มความรู้ตัว

ขณิกสมาธิ คืออะไร

สมาธิชั่วขณะจิตสงบลงถึงจุดที่เป็นสมาธิ แต่ผู้ทำสมาธิยังไม่ชำนาญพอจึงควบคุมจิตให้อยู่ในสมาธิไม่ได้นาน จิตจึงถอนจากสมาธิเสีย จิตเข้าถึงสมาธิชั่วขณะอย่างนี้เรียกว่า ขณิกสมาธิ,หากผู้ทำสมาธิพยายามฝึกต่อไป สมาธิจะค่อยมั่นคงขึ้นจนถึงสามารถ (เครดิต https://www.sanook.com/)

เพราะโดยธรรมชาติของจิตที่ติดตัวเรามาช้านาน มันเหมือนลิงที่โหนต้นไม้ไปเรื่อย อย่าไปดุมัน เพราะมันเป็นอย่างนั้นจริง ๆ   อย่าไปโกรธมันว่ามันพาเราคิดนั่นคิดนี่   ก็คิดง่าย ๆ คือ อย่างน้อยเราก็รู้ตัวว่าเราฟุ้งซ่าน แล้ว ก็กลับมาดูลมหายใจใหม่  ที่สำคัญไม่ต้องคิดว่านั่งแล้วจะเห็นโน่นเห็นนี่  เพราะสิ่งที่เห็น  มันเห็นจริง แต่มันไม่มีจริง เพราะมันไม่ใช่จิต มันเป็นการปรุงแต่ง

โดยเร่ิมจาก การทำจิตภาวนาสมาธิ  ที่มีจุดเร่ิมต้นคือ การสงบเพียงชั่วคราว แล้วค่อย ๆ ฝึกตนไปเรื่อย ๆ  ถึงแล้วสงบชั่วครู่  มันก็เหมือนกับคนทำงานมาทั้งวันเเล้วเหนื่อย ขอได้พักนิดหนึ่ง แล้วก็สะดุ้งตื่นขึ้นมาทำงานใหม่  ก็มีแรงขึ้นอีกนิดหนึ่ง  ขณิกสมาธิก็จะคล้าย ๆกัน สงบ ไม่ไปไหน ประมาณ สัก 1 ถึง 5 นาที ก็จะเริ่มคิดไปโน่นไปนี่  แต่เราจะเร่ิมรู้ตัวดีขึ้น และ คล่องขึ้น  แบบนี้ครับ จุดเร่ิมต้นของการมีสมาธิภาวนา

ลมจะติดขัดบ้าง หรือ ไหลลื่นบ้าง ก็เน้นแค่ รู้อาการอย่างนั้นไปเรื่อย ๆ เพราะสักครู่เราก็จะถูกชวนให้ไปคิดโน่นคิดนี่อีก แล้วก็กลับมารู้ตัวใหม่ แต่ความรู้ตัวและสงบเล็กน้อย จะเร่ิมยาวขึ้น จาก 1 นาที มา 2-5 นาที  และ จากที่เคยนั่งสมาธิ นิดเดียวก็จะเร่ิมนั่งได้ยาวขึ้น

บางคน นั่งตั้งนาน พอลืมตามา  อ้าวนี่แค่ ห้านาที นึกว่านั่งมายี่สิบนาที  แต่ พอเริ่มมี ขณิกสมาธิ  จากที่เคยคิดว่านั่งได้แค่สิบนาที พอลืมตามาอีกที กลายเป็นนั่งไป ยี่สิบนาที

แต่สุดท้าย ก็รู้ไว้ว่า แบบนี้คือ ขณิกสมาธิ แต่ไม่ต้องไปยึดถือว่าเราถึงขั้นไหน ปล่อยไปและภาวนาไปเรื่อย ๆนะครับ

รู้ตัวเองไว้นะครับ ไม่ต้องไม่ดูคนอื่น อารมณ์ไหนมันขึ้นมา ก็อดทนดูไป  แล้วลองมานึกดูว่าอารมณ์นั้นหายไปตอนไหน   นี่เหละครับ การมีสมาธิจะช่วยให้เรารับรู้มีสติได้ง่ายและดีขึ้น

ขณิกสมาธิ จุดเริ่มของการหลุดพ้น

สมาธิกับสติภาวนา เดี๋ยวก็มาด้วยกันครับ อดทนขันติ  เอาความสงบมาให้ได้ให้ใจเป็น สมถ แล้วภาวนาก็จะมาคู่กันเองครับ

สรุปสมาธิมี 3 ระดับ

  1. ขณิกสมาธิ เปรียบเหมือนเด็กหัดเดิน
  2. อุปจารสมาธิ เปรียบเหมือน เดินได้เร่ิมคล่อง แต่ยังโงนเงนบ้าง
  3. อัปปนาสมาธิ เปรียบเหมือนวิ่งเลย

แต่สุดท้ายไม่ต้องสนใจนะครับ ว่าเราจะถึงขั้นไหนขอให้ทำไปเรื่อย ๆ เน้นขอให้สงบ แล้ว จิตเขาจะพัฒนาตัวของเขาเอง

เครดิตเพจ https://dharayath.com/

 

 

 

Pin It on Pinterest